บทที่ 6 การรวบรวมข้อมูล
1. ความเข้าใจพื้นฐานของการรวบรวมข้อมูล
ความเข้าใจพื้นฐานสำหรับการรวบรวมข้อมูลจะช่วยให้การดำเนินการรวบรวมข้อมูลเป็นไปอย่างครบถ้อน ถูกต้อง และเหมาะสมกับสภาพการรวบรวมระบบการทำงาน โดยนักวิเคราะห์ระบบจะต้องแยกแยะกับปัญหาที่สังเกตพบโดยมีประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้อดังต่อไปนี้
1.1 ความหมายของการรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมข้อมูลในบทนี้มีความหมายในเชิงการรวบรวมข้อเท็จจริง (Fact) ในระบบงาน แต่โดยทั่วไปก็มักเรียกการรวบรวมข้อเท็จจริงจนติดปากว่าการรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูลนี้ถือเป็นหัวใจสำคัญในการศึกษาทำความเข้าใจกับระบบ รวมถึงศึกษาปัญหาและความต้องการของระบบ ดังนั้น วัตถุ
ประสงค์ของการรวบรวมข้อมูลคือ การได้ข้อเท็จจริงที่สามารถนำมาใช่ในขอบเขตของการปรับปรุงระบบงานปัจจุบันหรือใช่ในการการสร้างระบบงานใหม่แทนระบบเดิมได้
1.2 องค์ประกอบระบบงานด้านการจัดการข้อมูล
1.2.1 วัตถุประสงค์ขององค์กร
1.2.2 บุคลากรขององค์กร
1.2.3 ลักษณะข้อมูลในองค์กร
1.2.4 การปฏิบัติต่อข้อมูลในองค์กร
1.2.5 การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการข้อมูล
1.2.6 ลักษณะทางธรรมชาติและสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการทำงานในองค์
1.2.7 สิ่งที่ผลต่อค่าของข้อมูล
1. รวบรวมข้อมูลจากบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยตรง
2. การบันทึกข้อมูลที่เป็นศัพท์เฉพาะหรือมีคำนิยามเฉพาะจะต้องบันทึกให้ชัดเจนและครบถ้วน
3. การรวบรวมข้อมูลให้ครบถ้วนมักต้องทำมากกว่า 1 ครั้ง
4. รวบข้อมูลที่ได้อย่างเป็นลายลักษณ์อังษร ควรขอการเช็นชื่อรับรอบ ข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลทุกครั้ง
และผู้ที่รวบรวมข้อมูลก็ควรทำหนังสือแจ้งการรับทราบข้อมูลให้กับผู้ให้ข้อมูลด้วย
5. ในกรณีที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลจนได้ความต้องการออกมา ควรมีการตกลงยอมรับในความต้องการ ร่วมกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับเจ้าของระบบ
6. ยิ่งมีแหล่งข้อมูลมาก ยิ่งจะพบความขัดแย้งของข้อมูลมากขึ้น จะต้อวงหาวิธีกำจัดความขัดแย่งของ ข้อมูลโดยเร็วที่สุด
7. ระมัดระวังการใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลที่มากจนเกินไป ข้อมูลที่รวบรวมจะต้องอยู่ในขอบเขตของการพัฒนาระบบเท่านั้น
· การสัมภาษณ์
· การสังเกตการณ์ทำงาน
· การจัดทำแบบสอบถาม
· การสุ่มและประเมินผล
นักวิเคราะห์ระบบจะเป็นผู้สัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบ เช่น ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ใช้สนเทคของระบบ ผู้บริหารองค์กร แนวทางการสัมภาษณ์ที่ดังนี้
1.3 ข้อควรระวังในการรวบรวมข้อมูล
เนื่องจากข้อเท็จจริงที่รวบรวมได้จะเป็นแหล่งฐานความรู้ที่สำคัญในการพัฒนาระบบ ดังนั้น การรวบรวมข้อมูลจะต้องมีหลักประกันได้ข้อมูลที่ตรงกับความเป็นการจริงและครบถ้วน ผู้ที่ทำหน้าที่รวบรวมข้อมูล นอกจากจะต้องอาคัยคุณสมบัติที่เหมาะแก่การวิเคราะห์ระบบตามที่ได้กล่าวไว้ในบทที่ 3 แล้ว มีวิธีการทำงานที่เหมาะสมด้วย โดยมีแนวทางดังนี้1. รวบรวมข้อมูลจากบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยตรง
2. การบันทึกข้อมูลที่เป็นศัพท์เฉพาะหรือมีคำนิยามเฉพาะจะต้องบันทึกให้ชัดเจนและครบถ้วน
3. การรวบรวมข้อมูลให้ครบถ้วนมักต้องทำมากกว่า 1 ครั้ง
4. รวบข้อมูลที่ได้อย่างเป็นลายลักษณ์อังษร ควรขอการเช็นชื่อรับรอบ ข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลทุกครั้ง
และผู้ที่รวบรวมข้อมูลก็ควรทำหนังสือแจ้งการรับทราบข้อมูลให้กับผู้ให้ข้อมูลด้วย
5. ในกรณีที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลจนได้ความต้องการออกมา ควรมีการตกลงยอมรับในความต้องการ ร่วมกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับเจ้าของระบบ
6. ยิ่งมีแหล่งข้อมูลมาก ยิ่งจะพบความขัดแย้งของข้อมูลมากขึ้น จะต้อวงหาวิธีกำจัดความขัดแย่งของ ข้อมูลโดยเร็วที่สุด
7. ระมัดระวังการใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลที่มากจนเกินไป ข้อมูลที่รวบรวมจะต้องอยู่ในขอบเขตของการพัฒนาระบบเท่านั้น
2. เทคนิคการรวบรวมข้อเท็จจริง
เทคนิคการรวบรวมข้อเท็จจริง (Fact Gathering) เป็นวิธีการที่ใช้รวบรวมข้อเท็จจริงแบบดั้งเดิมได้รับความนิยมมานานในการรวบรวทข้อมูลจนถึงปัจจุบัน บางครั้งเรียกว่าเทคนิคที่ใช่ในการกำหนดความต้องการ เพราะข้อเท็จจริที่รวบรวมได้ถูกนำมาวิเคราะห์หาความต้องการที่แท้จริงในการพัฒนาระบบ มีเทคนิคต่างๆ ดังนี้· การสัมภาษณ์
· การสังเกตการณ์ทำงาน
· การจัดทำแบบสอบถาม
· การสุ่มและประเมินผล
2.1 การสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์เป็นวิธีหาข้อมูลและได้รายละเอียดในประเด็นที่ต้องการจากตัวบุคคลโดยตรง โดยนักวิเคราะห์ระบบจะเป็นผู้สัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบ เช่น ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ใช้สนเทคของระบบ ผู้บริหารองค์กร แนวทางการสัมภาษณ์ที่ดังนี้
2.1.1 ประเภทการให้สัมภาษณ์
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง ( Unstructured Interview )
การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างเป็นการสัมภาษณ์ที่ไม่มีกำหนดคำถามล่วงหน้า แต่อาจจะมีแนวคำถามแบบกว้างหรือคำถามทั่วไป ผลลัพธ์ที่ได้จากการสัมภาษณ์แบบนี้ จึงมักเป็นการ สนทนาทั่วไป ไม่เหมาะสำหรับงานด้านการวิเคราะห์และการออกแบบระบบ แตเหมาะสำหรับ
การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันในเบี้ยงต้น
2. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ( Structured Interview )
การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเป็นการสัมภาษณ์แบบที่มีการวางกรอบและกำหนดคำถามได้ไว้อย่างเฉพาะเจาะจง แม้มีประเด็นเพิ่มเติมขณะสัมภาษณ์ก็จะอยู่ในกรอบที่กำหนดไว้แตแรก
2.1.2 ขั้นตอนทั่วไปในการดำเนินการการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์มีขั้นตอนตามลำดับดังนี้
1. เปฺิดสัมภาษณ์ (Interview Opening)
ช่วงการเปิดสัมภาษณ์เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นให้เกิดบรรยากาศที่ดีในการสัมภาษณ์ และเกิด
ความกระตือรือร้นในการให้ความร่วมมือของผู้ให้สัมภาษณ์ ได้แก่ การจูงใจ โน้มน้าวใจ ดังนั้น
ผู้สัมภาษณ์ควรมีการวางตัวถูกต้องเหมาะสม และแจ้งวัตถุประสงค์การสัมภาษณ์การสัมภาษณ์ การนำข้อมูล แก่ผู้มห้สัมภาษณ์
2. สัมภาษณ์ (Interview Body)
ช่วงการสัมภาษณ์เป็นช่วงสำหรับการถามคำถามที่ได้เตรียมการไว้ และวอบถามข้อสงสัยที่อาจมีเพิ่มเติมนอกเหนือคำถามที่ได้เตรียมไว้ หรืออาจจะมีการข้ามคำถามที่เตรียมไว้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในขณะสัมภาษณ์ ต้องรักษาบรรยากาศที่ดีไว้ ไม่ว่าด้วยการใช้ ภาษาพูดหรือภาษษกาย
3. ปิดสัมภาษณ์ ( Interview Conclusion )
ช่วงการสัมภาษณ์เป็นช่วงเวลาการเริ่มต้นให้เกิดบรรยากาศที่ดีในการสัมภาษณ์ครั้งต่อไป กรณีที่ยังต้องการข้อมูลเพิ่มแต่ผู้ไว้ หรืออาจจะมีการข้ามคำถาม
2.1.3 การเตรียมการสัมภาษณ์
การเตรียมการสัมภาษณ์ที่ดี ย่อมทำให้การสัมภาษณ์มีประสิทธิภาพ มีข้อแนะนำดังนี้
1. กำหนดวัตถุประสงค์การสัมภาษณ์
ตัวอย่างเช่น ต้องการข้อมูลเชิงนโยบายหรือเชิงปฏิบัติการ ต้องการข้อมูลเชิงกระบวนงานหรือเชิง เทคนิคต้องการข้อเท็จจริงหรือข้อเสนอแนะ
2. เตรียมคำถามสำหรับกสารสัมภาษณ์
ให้กำหนดประเภทการตั้งคำถามที่สอดคล้องวัตถุประสงค์ โดยเลือกประเภทคำถามที่เหมาะสม คือ
1) คำถามปลายเปิด
2) คำถามปลายปิด
3.ตั้งคำถามที่มีลักษณะที่ดี ดังนี้
· คำถามที่กระชับ เข้าใจง่าย
· ระวังการเสนอความเห็นหรือชี้นำในคำถาม
· ระวังการแสดงออกในเชิงข่มขู่ในคำถาม
4. กำหนดบุคคลที่เหมาะสมและนัดหมายการสัมภาษณ์ล่วงหน้า
บุคคลที่เหมาะสมจะขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ หากเป็นไปได้ ควรส่งคำถามหรือแนว คำถามผู้ที่เรานัดหมาย เพื่อให้ผู้ให้สัมภาษณ์ได้มีโอกาศเตรียมตัวได้ดีมากขึ้น
2.1.4 ข้อแนะนำสำหรับการสัมภาษณ์
1. ต้องมีการเตรียมตัวการสัมภาษณ์ที่ดี
2. ผู้สัมภาษณ์ต้องตั้งใจฟังอย่างระมัดระวังและจดบันทึกด้วยความระมัดระวัง หรือขออนุญาต บันทึก เสียงเพื่อชดเชยความบกพร่องที่อาจมีขณะจดบันทึก
3. ควรสรุปความเข้าใจจากการสัมภาษณ์เป็นสารสนเทศได้จากการสัมภาษณ์ภายใน 48 ชั่วโมงเพื่อป้องกันการลืม
4. ผู้สัมภาษณ์ต้องมีความเ็นกลาง ระวังการให้ความคาดหังแก่ผู้ให้สัมภาษณ์เป็นพิเศษ เพราะหากมีผู้ที่ต้องการสัมภาษณ์หลายคน ก็จะมีมุมมองต่องๆ เพิ่มขึ้น ความต้องการอาจขัดแย้งกัน
5. ผู้สัมภาษณ์ต้องหามุมมองที่หลากหลาย เพราะแต่ลพบุคคลมีพื้นภูมิทางความคิดต่างกัน บทบาท ความรับผิดชอบต่างกัน ก็จะมีมุมมองต่อเรื่องเดียวกันที่ต่างกันได้
2.2.1 ข้อดี
1. ข้อมูลที่รวบรวมได้มีความน่าเชื่อถือสูง เพราะมาจากสภาพการทำงานจริง
2. ผู้วิเคราะห์ระบบเห็นขั้นตอนต่างๆ ในกระบวนการชัดขึ้น
3. ใช้ต้นทุนในการทำงานต่ำเมื่อเทียบกับวิธีอื่น
4. เห็นความสัมภาษณ์พันธ์ระหว่างหน่วยงานต่างๆ
2.2.2 ข้อเสีย
1. การสังเกตการณ์อาจส่งผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ได้แก่ ความอึดอัดขณะกำลัง ทำงานซึ่งจะส่งผลให้เกิดการทำงานที่ผิดพลาด ได้สูง
2. อาจใช้เวลาานสำหรับบางกะบวนการ จึงจะได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
3. การสังเกตการณ์บางด้านอาจไม่สะดวก
4. กรณีเฉพาะในกระบวนการอาจมีโอกาศเกิดน้อย หรือไม่เกิดเลย
2.3.1 การเลือกกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เลือกตามความสะดวก
2. เลือกแบบสุ่ม
3. เลือกตามวัตถุประสงค์เฉพาะที่กำหนด
4. เลือกจากกลุ่มบุคคลตามที่ได้จัดกลุ่มไว้
2.3.2 การออกแบบสอบถาม
ให้เลือกประเภทการตั้งคำถามที่เหมาะสมในขณะที่ดำเนินการรวบรวมข้อมูล โดยมีหลักพิจารณาเลือกดังนี้
1. คำถามแบบปลายเปิด มีจุดเด่นคือ
1) ใช้เวลาน้อยและมีความง่ายในการจัดทำ แต่ใช้เวลานานสำหรับการตอบคำถาม
2) ผู้ตอบสามารถแสดงความเหฌนส่วนตัวที่หลากหลายได้ดี จึงเหมาะแก่การขอข้อเสนอแนะ
2. คำถามแบบปลายปิด มีจุดเด่นคือ
1) ใช้เวลาทำนนและมีความยากในการจักทำแต่ใช่เวลาน้อยในการตอบคำถาม
2) ผู้ตอบแสดงความเห็นไม่ได้ ต้องตอบตามตัวเลือกที่กำหนด จึงเหมาะสำหรับผลลัพธ์ทางสถิติ
2.3.3 ข้อควรระวังในการตั้งคำถาม
เนื่องจากแบบสอบถามเป็นการสื่อสารด้วยลายลักษณ์อักษณ สื่อสารทางเดียว และอาจไมาสามารถรับคำอธิบายเพิ่มเติมได้ จึงต้องระวังสำหรับการสร้างคำถาม เพื่อให้ได้ความชัดเจน แทน เช่น
1. ความหมายต้องชัดเจน ไม่กำกวม
ควรตั้งแล่ละคนตีความเชิงปริมาณไม่เหมือนกันแต่ควนกำหนดเป็นปริมาณที่ชัดเจนแทน เช่น เฉลี่ย 3 ครั้งต่อวัน หรือเฉลี่ย 5 วันต่อสัปดาห์ เป็นต้น
2. คำถามต้องไม่ยาวเกินความจำเป็น
ประโยคคำถามควรสั้นกระทัดรัด เพราะประโยคคำถามที่ยาวขึ้น หรืแการใช่ประโยคซ้อน ประโยคอาจทำให้มีการตีความที่ต่างจากจุดประสงค์ของคำถามได้
ข้อมูลบางส่วน วิธีนี้เป็นวิธีที่ได้ผลดีอีกวิธีหนึ่ง ตัวอย่าง เช่าน ในหัวข้อ 2.1 ถึง 2.3 ที่ผ่านมาในบางกรณี เมื่อเปรียบเทียบกับการ สัมภาษณ์แล้ว การรวบรวมข้อมูลวิธีนี้จะได้ความเข้าใจที่จำกัดตามคำถามที่อยู่ในแบบสอบถาม แต่วิธีนี้สามารถเก็บข้อมูลจากหลายๆ
นอกจากนี้เราอาจจะต้องอาศัยการหาค่าสถิติที่ต้องนำไปใช้ในการทำงานของ ระบบงาน เช่น การสร้างระบบสำหรับการคาคการณ์ต่างๆ จะต้องอาศัยการวิจัยข้อมูลที่มีในอดีตเพื่อใช่เป็นฐานในการคาดคะเน การวิจัยข้อมูลมีหลายวิธีที่แตกต่างกันไปตามลักษณะงานซึ่งจะไม่กล่าวในรายละเอียดในที่นี้
ช่วยนักวิเคราะห์ระบบ (systems analysts: SA) ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ โดยการใช้ซอฟต์แวร์ที่ช่วยสร้างแผนภาพ รายงาน โค้ดโปรแกรม ในระหว่างการวิเคราะห์และออกแบบระบบให้เป็นไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์หรือเป็นซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ช่วยในการพัฒนาระบบ คอยสนับสนุนการทำงานในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา ด้วยการเตรียมฟังก์ชั่นการทำงานต่าง ๆ ที่ทำให้การทำงานแต่ละขั้นตอนมีความรวดเร็วและมี
3.1.2 แนวคิด
3.2.1 ผู้นำการประชุม ขั้นตอนหรือกระบวนการร่วมกันของกลุ่มคนเพื่อเปูาหมายในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งมี ความสำคัญอย่างยิ่งในการดำเนินการขององค์กร การประชุมที่ดีนั้นต้องช่วยในการตัดสินใจของคณะ การวางแผนและการติดตามผล การมอบหมายความรับผิดชอบ ซึ่งถ้ามีการดำเนินการประชุมอย่างมี ประสิทธิผล ก็จะทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปการประชุมแบ่งออกได้ 5 ประเภท ดังนี้
3.2.2 ผู้ใช้หรือผู้ปฏิบัติงานจริงในระบบ การประชุมเพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสาร เป็นการประชุมเพื่อท าความเข้าใจเรื่องต่างๆ เช่น นโยบายองค์กร กฎระเบียบต่างๆ เป็นต้น ดังนั้นจึงต้องมีการจัดกลุ่มผู้เข้าร่วมประชุมให้สอดคล้องกับเรื่องที่แจ้งให้ทราบ 2. การประชุมเพื่อเร่งเร้าจูงใจและประกาศเกียรติคุณ การประชุมเช่นนี้เป็นการประชุมที่ส าคัญในยามที่ องค์กรต้องการให้พนักงานมีความมุ่งมั่นและทุ่มเทไปสู่เปูาหมาย ผู้น าการประชุมควรท าให้ทุกคน ฮึกเหิมและให้ค ามั่นสัญญาว่าจะร่วมกันไปสู่เปูาหมายให้จงได้
3.2.3ผู้บริหารองค์กร การประชุมเพื่อร่วมกันคิดสร้างสรรค์เช่น เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา ระดมความคิดพัฒนางาน เป็นต้น
3.2.4ผู้ให้การสนับสนุน การประชุมเพื่อร่วมกันตัดสินใจ การประชุมนี้มักเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการการตัดสินใจแก้ไขปัญหา องค์ ประชุมควรประกอบด้วยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ
3.2.5 นักวิเคราะห์ระบบ การประชุมเพื่อสอนงานและฝึกอบรม การประชุมนี้มักเกี่ยวกับเรื่องที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ในที่ทำงาน เช่น การสอนวิธีใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชนิดใหม่
3.2.6 เลขาที่ประชุม องค์กรต้องการให้พนักงานมีความมุ่งมั่นและทุ่มเทไปสู่เป้าหมาย ผู้นำการประชุมควรทำให้ทุกคน ฮึกเหิมและให้คำมั่นสัญญาว่าจะร่วมกันไปสู่เปูาหมายให้จงได้
3.2.7 บุคลากรด้านสารสนเทคขององค์ เทคนิคการประชุมแบบมืออ ั้นตอนหรือกระบวนการร่วมกันของกลุ่มคนเพื่อเปูาหมายในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งมี ความส าคัญอย่างยิ่งในการดำเนินการขององค์กร การประชุมที่ดีนั้นต้องช่วยในการตัดสินใจของคณะ การวางแผนและการติดตามผล การมอบหมายความรับผิดชอบ ซึ่งถ้ามีการดำเนินการประชุมอย่างมี ประสิทธิผล ก็จะทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพ
CASE Tool (Computer-Aided Software Engineering) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ซึ่งมีความสามารถหลัก ๆ คือ ช่วยนักวิเคราะห์ระบบ (systems analysts: SA) ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ โดยการใช้ซอฟต์แวร์ที่ช่วยสร้างแผนภาพ รายงาน โค้ดโปรแกรม ในระหว่างการวิเคราะห์และออกแบบระบบให้เป็นไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์หรือเป็นซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ช่วยในการพัฒนาระบบ คอยสนับสนุนการทำงานในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา ด้วยการเตรียมฟังก์ชั่นการทำงานต่าง ๆ ที่ทำให้การทำงานแต่ละขั้นตอนมีความรวดเร็วและมีคุณภาพมากขึ้น
CASE Tool จะช่วยแบ่งเบาภาระของนักวิเคราะห์ระบบได้มาก ตั้งแต่การช่วยสร้าง Context Diagram, Flowchart, E-R diagram สร้างรายงานและแบบฟอร์ม ตลอดจนการสร้างโค้ดโปรแกรม (Source Code) ให้อัตโนมัติอีกด้วย
3.3.2 ระบบต้นแบบ
ที่ใช้ในการพัฒนาระบบถูกแบ่งขอบข่ายการทำงานออกเป็น 2 ช่วง โดยการแบ่งนั้นอ้างอิงจากขั้นตอนการพัฒนาระบบในวงจร SDLC ซึ่งมีดังต่อไปนี้
Upper-CASE เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนต้น ๆ ของการพัฒนาระบบ ได้แก่ ขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนการวิเคราะห์ และขั้นตอนการออกแบบระบบ
Lower-CASEเป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนสุกดท้ายในการพัฒนาระบบ ได้แก่ ขั้นตอนการออกแบบ ขั้นตอนการพัฒนาและทดสอบระบบ และขั้นตอนการให้บริการหลังการติดตั้งระบบ
จะเห็นว่า CASE ทั้งสองระดับนี้ มีการำงานที่ซ้ำซ้อนกันอยู่ บางครั้งองค์กรอาจเลือกใช้งาน CASE Tools ทั้ง 2 ระดับร่วมกันได้
3.4.2 ข้อเสีย
1. มีความจำกัดด้านการส่วนร่วม
2.อาจมีคนผูกขาดในการแสดงความคิดเห็น
3.บางคนอาจกลัวการถูกวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่น
4. คนส่วนใหย๋อาจไม่กล้าวิพากษ์วิจารณ์
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง ( Unstructured Interview )
การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างเป็นการสัมภาษณ์ที่ไม่มีกำหนดคำถามล่วงหน้า แต่อาจจะมีแนวคำถามแบบกว้างหรือคำถามทั่วไป ผลลัพธ์ที่ได้จากการสัมภาษณ์แบบนี้ จึงมักเป็นการ สนทนาทั่วไป ไม่เหมาะสำหรับงานด้านการวิเคราะห์และการออกแบบระบบ แตเหมาะสำหรับ
การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันในเบี้ยงต้น
2. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ( Structured Interview )
การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเป็นการสัมภาษณ์แบบที่มีการวางกรอบและกำหนดคำถามได้ไว้อย่างเฉพาะเจาะจง แม้มีประเด็นเพิ่มเติมขณะสัมภาษณ์ก็จะอยู่ในกรอบที่กำหนดไว้แตแรก
2.1.2 ขั้นตอนทั่วไปในการดำเนินการการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์มีขั้นตอนตามลำดับดังนี้
1. เปฺิดสัมภาษณ์ (Interview Opening)
ช่วงการเปิดสัมภาษณ์เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นให้เกิดบรรยากาศที่ดีในการสัมภาษณ์ และเกิด
ความกระตือรือร้นในการให้ความร่วมมือของผู้ให้สัมภาษณ์ ได้แก่ การจูงใจ โน้มน้าวใจ ดังนั้น
ผู้สัมภาษณ์ควรมีการวางตัวถูกต้องเหมาะสม และแจ้งวัตถุประสงค์การสัมภาษณ์การสัมภาษณ์ การนำข้อมูล แก่ผู้มห้สัมภาษณ์
2. สัมภาษณ์ (Interview Body)
ช่วงการสัมภาษณ์เป็นช่วงสำหรับการถามคำถามที่ได้เตรียมการไว้ และวอบถามข้อสงสัยที่อาจมีเพิ่มเติมนอกเหนือคำถามที่ได้เตรียมไว้ หรืออาจจะมีการข้ามคำถามที่เตรียมไว้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในขณะสัมภาษณ์ ต้องรักษาบรรยากาศที่ดีไว้ ไม่ว่าด้วยการใช้ ภาษาพูดหรือภาษษกาย
3. ปิดสัมภาษณ์ ( Interview Conclusion )
ช่วงการสัมภาษณ์เป็นช่วงเวลาการเริ่มต้นให้เกิดบรรยากาศที่ดีในการสัมภาษณ์ครั้งต่อไป กรณีที่ยังต้องการข้อมูลเพิ่มแต่ผู้ไว้ หรืออาจจะมีการข้ามคำถาม
2.1.3 การเตรียมการสัมภาษณ์
การเตรียมการสัมภาษณ์ที่ดี ย่อมทำให้การสัมภาษณ์มีประสิทธิภาพ มีข้อแนะนำดังนี้
1. กำหนดวัตถุประสงค์การสัมภาษณ์
ตัวอย่างเช่น ต้องการข้อมูลเชิงนโยบายหรือเชิงปฏิบัติการ ต้องการข้อมูลเชิงกระบวนงานหรือเชิง เทคนิคต้องการข้อเท็จจริงหรือข้อเสนอแนะ
2. เตรียมคำถามสำหรับกสารสัมภาษณ์
ให้กำหนดประเภทการตั้งคำถามที่สอดคล้องวัตถุประสงค์ โดยเลือกประเภทคำถามที่เหมาะสม คือ
1) คำถามปลายเปิด
2) คำถามปลายปิด
3.ตั้งคำถามที่มีลักษณะที่ดี ดังนี้
· คำถามที่กระชับ เข้าใจง่าย
· ระวังการเสนอความเห็นหรือชี้นำในคำถาม
· ระวังการแสดงออกในเชิงข่มขู่ในคำถาม
4. กำหนดบุคคลที่เหมาะสมและนัดหมายการสัมภาษณ์ล่วงหน้า
บุคคลที่เหมาะสมจะขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ หากเป็นไปได้ ควรส่งคำถามหรือแนว คำถามผู้ที่เรานัดหมาย เพื่อให้ผู้ให้สัมภาษณ์ได้มีโอกาศเตรียมตัวได้ดีมากขึ้น
2.1.4 ข้อแนะนำสำหรับการสัมภาษณ์
1. ต้องมีการเตรียมตัวการสัมภาษณ์ที่ดี
2. ผู้สัมภาษณ์ต้องตั้งใจฟังอย่างระมัดระวังและจดบันทึกด้วยความระมัดระวัง หรือขออนุญาต บันทึก เสียงเพื่อชดเชยความบกพร่องที่อาจมีขณะจดบันทึก
3. ควรสรุปความเข้าใจจากการสัมภาษณ์เป็นสารสนเทศได้จากการสัมภาษณ์ภายใน 48 ชั่วโมงเพื่อป้องกันการลืม
4. ผู้สัมภาษณ์ต้องมีความเ็นกลาง ระวังการให้ความคาดหังแก่ผู้ให้สัมภาษณ์เป็นพิเศษ เพราะหากมีผู้ที่ต้องการสัมภาษณ์หลายคน ก็จะมีมุมมองต่องๆ เพิ่มขึ้น ความต้องการอาจขัดแย้งกัน
5. ผู้สัมภาษณ์ต้องหามุมมองที่หลากหลาย เพราะแต่ลพบุคคลมีพื้นภูมิทางความคิดต่างกัน บทบาท ความรับผิดชอบต่างกัน ก็จะมีมุมมองต่อเรื่องเดียวกันที่ต่างกันได้
2.2 กางสังเกตการณ์
การสังเกตการณ์เป็นวิธีรวบรวมข้อมูลที่มาจากการเห็นสภาพการทำงานจริงโดตตรง ทำให้เกิดความเข้าใจทั้งกระบวนงานได้ง่าย2.2.1 ข้อดี
1. ข้อมูลที่รวบรวมได้มีความน่าเชื่อถือสูง เพราะมาจากสภาพการทำงานจริง
2. ผู้วิเคราะห์ระบบเห็นขั้นตอนต่างๆ ในกระบวนการชัดขึ้น
3. ใช้ต้นทุนในการทำงานต่ำเมื่อเทียบกับวิธีอื่น
4. เห็นความสัมภาษณ์พันธ์ระหว่างหน่วยงานต่างๆ
2.2.2 ข้อเสีย
1. การสังเกตการณ์อาจส่งผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ได้แก่ ความอึดอัดขณะกำลัง ทำงานซึ่งจะส่งผลให้เกิดการทำงานที่ผิดพลาด ได้สูง
2. อาจใช้เวลาานสำหรับบางกะบวนการ จึงจะได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
3. การสังเกตการณ์บางด้านอาจไม่สะดวก
4. กรณีเฉพาะในกระบวนการอาจมีโอกาศเกิดน้อย หรือไม่เกิดเลย
2.3 การจัดทำแบบสอบถาม
การทำแบบสอบถามเป็นการวิธีรวบรวมข้อมูลแบบสื่อสารทางเดียว เมื่อเปรียบเทียบกับการ สัมภาษณ์แล้ว การรวบรวมข้อมูลวิธีนี้จะได้ความเข้าใจที่จำกัดตามคำถามที่อยู่ในแบบสอบถาม แต่วิธีนี้สามารถเก็บข้อมูลจากหลายๆ2.3.1 การเลือกกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เลือกตามความสะดวก
2. เลือกแบบสุ่ม
3. เลือกตามวัตถุประสงค์เฉพาะที่กำหนด
4. เลือกจากกลุ่มบุคคลตามที่ได้จัดกลุ่มไว้
2.3.2 การออกแบบสอบถาม
ให้เลือกประเภทการตั้งคำถามที่เหมาะสมในขณะที่ดำเนินการรวบรวมข้อมูล โดยมีหลักพิจารณาเลือกดังนี้
1. คำถามแบบปลายเปิด มีจุดเด่นคือ
1) ใช้เวลาน้อยและมีความง่ายในการจัดทำ แต่ใช้เวลานานสำหรับการตอบคำถาม
2) ผู้ตอบสามารถแสดงความเหฌนส่วนตัวที่หลากหลายได้ดี จึงเหมาะแก่การขอข้อเสนอแนะ
2. คำถามแบบปลายปิด มีจุดเด่นคือ
1) ใช้เวลาทำนนและมีความยากในการจักทำแต่ใช่เวลาน้อยในการตอบคำถาม
2) ผู้ตอบแสดงความเห็นไม่ได้ ต้องตอบตามตัวเลือกที่กำหนด จึงเหมาะสำหรับผลลัพธ์ทางสถิติ
2.3.3 ข้อควรระวังในการตั้งคำถาม
เนื่องจากแบบสอบถามเป็นการสื่อสารด้วยลายลักษณ์อักษณ สื่อสารทางเดียว และอาจไมาสามารถรับคำอธิบายเพิ่มเติมได้ จึงต้องระวังสำหรับการสร้างคำถาม เพื่อให้ได้ความชัดเจน แทน เช่น
1. ความหมายต้องชัดเจน ไม่กำกวม
ควรตั้งแล่ละคนตีความเชิงปริมาณไม่เหมือนกันแต่ควนกำหนดเป็นปริมาณที่ชัดเจนแทน เช่น เฉลี่ย 3 ครั้งต่อวัน หรือเฉลี่ย 5 วันต่อสัปดาห์ เป็นต้น
2. คำถามต้องไม่ยาวเกินความจำเป็น
ประโยคคำถามควรสั้นกระทัดรัด เพราะประโยคคำถามที่ยาวขึ้น หรืแการใช่ประโยคซ้อน ประโยคอาจทำให้มีการตีความที่ต่างจากจุดประสงค์ของคำถามได้
2.4 การสุ่มและการประเมินผล
การสุ่มและการประเมินผลเป็นวิธีการหาข้อมูลที่มียุคลากรจำนวนมาก มีเหตุการณ์หรือการเปลี่ยน แปลงมาก หรือการทำงานมากจนไม่สามรถศึกษาข้อมูลจากทุกกลุ่มหรือกระบวนการได้ข้อมูลบางส่วน วิธีนี้เป็นวิธีที่ได้ผลดีอีกวิธีหนึ่ง ตัวอย่าง เช่าน ในหัวข้อ 2.1 ถึง 2.3 ที่ผ่านมาในบางกรณี เมื่อเปรียบเทียบกับการ สัมภาษณ์แล้ว การรวบรวมข้อมูลวิธีนี้จะได้ความเข้าใจที่จำกัดตามคำถามที่อยู่ในแบบสอบถาม แต่วิธีนี้สามารถเก็บข้อมูลจากหลายๆ
นอกจากนี้เราอาจจะต้องอาศัยการหาค่าสถิติที่ต้องนำไปใช้ในการทำงานของ ระบบงาน เช่น การสร้างระบบสำหรับการคาคการณ์ต่างๆ จะต้องอาศัยการวิจัยข้อมูลที่มีในอดีตเพื่อใช่เป็นฐานในการคาดคะเน การวิจัยข้อมูลมีหลายวิธีที่แตกต่างกันไปตามลักษณะงานซึ่งจะไม่กล่าวในรายละเอียดในที่นี้
3. เทคนิคการออกแบบระบบแบบมีส่วนร่วม หรือ JAD
การกำหนดความต้องการแบบใหม่ เป็นเทคนิคกำหนดบุคคลที่เหมาะสมและนัดหมายการสัมภาษณ์ล่วงหน้า บุคคลที่เหมาะสมจะขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ หากเป็นไปได้ ควรส่งคำถามหรือแนวคำถามผู้ที่เรานัดหมาย เพื่อให้ผู้ให้สัมภาษณ์ได้มีโอกาศเตรียมตัวได้ดีมาก3.1 ลักษณะของเทคนิค JAD
3.1.1 ที่มาช่วยนักวิเคราะห์ระบบ (systems analysts: SA) ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ โดยการใช้ซอฟต์แวร์ที่ช่วยสร้างแผนภาพ รายงาน โค้ดโปรแกรม ในระหว่างการวิเคราะห์และออกแบบระบบให้เป็นไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์หรือเป็นซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ช่วยในการพัฒนาระบบ คอยสนับสนุนการทำงานในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา ด้วยการเตรียมฟังก์ชั่นการทำงานต่าง ๆ ที่ทำให้การทำงานแต่ละขั้นตอนมีความรวดเร็วและมี
3.1.2 แนวคิด
ที่ใช้ในการพัฒนาระบบถูกแบ่งขอบข่ายการทำงานออกเป็น 2 ช่วง โดยการแบ่งนั้นอ้างอิงจากขั้นตอนการพัฒนาระบบในวงจร SDLC ซึ่งมีดังต่อไปนี้
Upper-CASE เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนต้น ๆ ของการพัฒนาระบบ ได้แก่ ขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนการวิเคราะห์ และขั้นตอนการออกแบบระบบ
Lower-CASEเป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนสุกดท้ายในการพัฒนาระบบ ได้แก่ ขั้นตอนการออกแบบ ขั้นตอนการพัฒนาและทดสอบระบบ และขั้นตอนการให้บริการหลังการติดตั้งระบบ
จะเห็นว่า CASE ทั้งสองระดับนี้ มีการำงานที่ซ้ำซ้อนกันอยู่ บางครั้งองค์กรอาจเลือกใช้งาน CASE Tools ทั้ง 2 ระดับร่วมกันได้
Upper-CASE เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนต้น ๆ ของการพัฒนาระบบ ได้แก่ ขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนการวิเคราะห์ และขั้นตอนการออกแบบระบบ
Lower-CASEเป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนสุกดท้ายในการพัฒนาระบบ ได้แก่ ขั้นตอนการออกแบบ ขั้นตอนการพัฒนาและทดสอบระบบ และขั้นตอนการให้บริการหลังการติดตั้งระบบ
จะเห็นว่า CASE ทั้งสองระดับนี้ มีการำงานที่ซ้ำซ้อนกันอยู่ บางครั้งองค์กรอาจเลือกใช้งาน CASE Tools ทั้ง 2 ระดับร่วมกันได้
3.2 องค์ประชุม
การทำงานในยุคปัจจุบันมีลักษณะการทำงานเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เครื่องมือที่ช่วยให้ การทำงานเป็นทีมสัมฤทธิ์ผลคือ วิธีการประชุมอย่างมีประสิทธิผล หากการประชุมดำเนินไปอย่างไม่ถูกวิธีย่อม สูญเสียทรัพยากรและประสิทธิผลที่จะเกิดจากการร่วมคิดร่วมทำไปอย่างน่าเสียดาย หนังสือเล่มนี้จึงได้แนะนำ เทคนิคการประชุมแบบมืออ ั้นตอนหรือกระบวนการร่วมกันของกลุ่มคนเพื่อเปูาหมายในการด าเนินธุรกิจ ซึ่งมี ความสำคัญอย่างยิ่งในการดำเนินการขององค์กร การประชุมที่ดีนั้นต้องช่วยในการตัดสินใจของคณะ การวางแผนและการติดตามผล การมอบหมายความรับผิดชอบ ซึ่งถ้ามีการดำเนินการประชุมอย่างมี ประสิทธิผล ก็จะทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพ3.2.1 ผู้นำการประชุม ขั้นตอนหรือกระบวนการร่วมกันของกลุ่มคนเพื่อเปูาหมายในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งมี ความสำคัญอย่างยิ่งในการดำเนินการขององค์กร การประชุมที่ดีนั้นต้องช่วยในการตัดสินใจของคณะ การวางแผนและการติดตามผล การมอบหมายความรับผิดชอบ ซึ่งถ้ามีการดำเนินการประชุมอย่างมี ประสิทธิผล ก็จะทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปการประชุมแบ่งออกได้ 5 ประเภท ดังนี้
3.2.2 ผู้ใช้หรือผู้ปฏิบัติงานจริงในระบบ การประชุมเพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสาร เป็นการประชุมเพื่อท าความเข้าใจเรื่องต่างๆ เช่น นโยบายองค์กร กฎระเบียบต่างๆ เป็นต้น ดังนั้นจึงต้องมีการจัดกลุ่มผู้เข้าร่วมประชุมให้สอดคล้องกับเรื่องที่แจ้งให้ทราบ 2. การประชุมเพื่อเร่งเร้าจูงใจและประกาศเกียรติคุณ การประชุมเช่นนี้เป็นการประชุมที่ส าคัญในยามที่ องค์กรต้องการให้พนักงานมีความมุ่งมั่นและทุ่มเทไปสู่เปูาหมาย ผู้น าการประชุมควรท าให้ทุกคน ฮึกเหิมและให้ค ามั่นสัญญาว่าจะร่วมกันไปสู่เปูาหมายให้จงได้
3.2.3ผู้บริหารองค์กร การประชุมเพื่อร่วมกันคิดสร้างสรรค์เช่น เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา ระดมความคิดพัฒนางาน เป็นต้น
3.2.4ผู้ให้การสนับสนุน การประชุมเพื่อร่วมกันตัดสินใจ การประชุมนี้มักเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการการตัดสินใจแก้ไขปัญหา องค์ ประชุมควรประกอบด้วยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ
3.2.5 นักวิเคราะห์ระบบ การประชุมเพื่อสอนงานและฝึกอบรม การประชุมนี้มักเกี่ยวกับเรื่องที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ในที่ทำงาน เช่น การสอนวิธีใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชนิดใหม่
3.2.6 เลขาที่ประชุม องค์กรต้องการให้พนักงานมีความมุ่งมั่นและทุ่มเทไปสู่เป้าหมาย ผู้นำการประชุมควรทำให้ทุกคน ฮึกเหิมและให้คำมั่นสัญญาว่าจะร่วมกันไปสู่เปูาหมายให้จงได้
3.2.7 บุคลากรด้านสารสนเทคขององค์ เทคนิคการประชุมแบบมืออ ั้นตอนหรือกระบวนการร่วมกันของกลุ่มคนเพื่อเปูาหมายในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งมี ความส าคัญอย่างยิ่งในการดำเนินการขององค์กร การประชุมที่ดีนั้นต้องช่วยในการตัดสินใจของคณะ การวางแผนและการติดตามผล การมอบหมายความรับผิดชอบ ซึ่งถ้ามีการดำเนินการประชุมอย่างมี ประสิทธิผล ก็จะทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพ
3.3 เครื่องมือที่ใช่ในการประชุม
3.3.1 โปรแกรมกลุ่มCASE Tool (Computer-Aided Software Engineering) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ซึ่งมีความสามารถหลัก ๆ คือ ช่วยนักวิเคราะห์ระบบ (systems analysts: SA) ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ โดยการใช้ซอฟต์แวร์ที่ช่วยสร้างแผนภาพ รายงาน โค้ดโปรแกรม ในระหว่างการวิเคราะห์และออกแบบระบบให้เป็นไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์หรือเป็นซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ช่วยในการพัฒนาระบบ คอยสนับสนุนการทำงานในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา ด้วยการเตรียมฟังก์ชั่นการทำงานต่าง ๆ ที่ทำให้การทำงานแต่ละขั้นตอนมีความรวดเร็วและมีคุณภาพมากขึ้น
CASE Tool จะช่วยแบ่งเบาภาระของนักวิเคราะห์ระบบได้มาก ตั้งแต่การช่วยสร้าง Context Diagram, Flowchart, E-R diagram สร้างรายงานและแบบฟอร์ม ตลอดจนการสร้างโค้ดโปรแกรม (Source Code) ให้อัตโนมัติอีกด้วย
3.3.2 ระบบต้นแบบ
ที่ใช้ในการพัฒนาระบบถูกแบ่งขอบข่ายการทำงานออกเป็น 2 ช่วง โดยการแบ่งนั้นอ้างอิงจากขั้นตอนการพัฒนาระบบในวงจร SDLC ซึ่งมีดังต่อไปนี้
Upper-CASE เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนต้น ๆ ของการพัฒนาระบบ ได้แก่ ขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนการวิเคราะห์ และขั้นตอนการออกแบบระบบ
Lower-CASEเป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานในขั้นตอนสุกดท้ายในการพัฒนาระบบ ได้แก่ ขั้นตอนการออกแบบ ขั้นตอนการพัฒนาและทดสอบระบบ และขั้นตอนการให้บริการหลังการติดตั้งระบบ
จะเห็นว่า CASE ทั้งสองระดับนี้ มีการำงานที่ซ้ำซ้อนกันอยู่ บางครั้งองค์กรอาจเลือกใช้งาน CASE Tools ทั้ง 2 ระดับร่วมกันได้
3.4 ผลดี - ผลเสียของเทคนิค JAD
3.4.1 ข้อดี
ประหยัดเวลา, ได้คำตอบตรงตามเป้าหมาย, ควบคุมการสัมภาษณ์ง่าย, ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการ
1. มีความจำกัดด้านการส่วนร่วม
2.อาจมีคนผูกขาดในการแสดงความคิดเห็น
3.บางคนอาจกลัวการถูกวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่น
4. คนส่วนใหย๋อาจไม่กล้าวิพากษ์วิจารณ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น