บทที่ 10 การอธิบายกระบวนการแบบตาราง
1. ภาพรวมของตารางตัดสินใจ
ตารางตัดสินใจเป็นรูปแบบในการเขียนอธิบายการทำงานของกระบวนการด้วยตารางการเขียนอธิบายกระบวนการในลักษณะนี้มีการประยุกต์ใช้งานในงานหลายๆด้าน เช่น การวิเคราะห์ทางธุรกิจ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การตรวจสอบการทำงานหรือแม้กระทั่งการออกแบบผลิตภัณฑ์ ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับลักษณะของตารางตัดสินใจมีดังนี้
1.1 ความหมาย
เมื่อกล่าวถึงตารางแล้ว เราคงพอนึงภาพลักษณะทางแผนผังของมันได้ ในแง่ของการอธิบายกระบวนการทำงานในระบบแล้ว ตารางตัดสินใจ (Decision Table)คือ ตารางที่แสดงความสอดคล้องกันระหว่างตัวเลือกที่เป็นไปได้ทั้งหมดของเงื่อนไขที่ประกอบร่วมกันในกระบวนการ กับการกระทำที่มีโอกาสเกิดขึ้นทั้งหมดในกระบวนการที่ต้องการทำ
1.2 องค์ประกอบของตารางตัดสินใจ
การเขียนอธิบายโดยใช้ตารางตัดสินใจมีรูปแบบคล้ายแผนผังตัดสินใจแบบต้นไม้ แต่จะใช้พื้นที่ในการเขียนที่น้อยกว่าทำให้แสดงการตัดสินใจตามเงื่อนไขต่างๆ ที่ซับซ้อนมากกว่า
1.1.1 ลักษณะแผนผังแบบต้นไม้
ในตารางการตัดสินใจเราสามารถแบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน คือ
1.ส่วนเงื่อนไข
2.ส่วนการกระทำ
3.ส่วนการตั้งกฎ
4.ส่วนของคำตอบ
= X แทน เลือก แสดงว่าเลือกคำตอบนี้ ในกฎ 1 ข้อสามารถเลือกคำ ตอบได้มากกว่า 1 ผสมกัน
= - หรือ (ว่าง) แทน ไม่เลือก แสดงว่าไม่เลือกคำตอบนี้
= X แทน เลือก แสดงว่าเลือกคำตอบนี้ ในกฎ 1 ข้อสามารถเลือกคำ ตอบได้มากกว่า 1 ผสมกัน
= - หรือ (ว่าง) แทน ไม่เลือก แสดงว่าไม่เลือกคำตอบนี้
= ? แทน ยังไม่ทราบ แสดงว่าถ้าเกิดสถานการณ์นี้ขึ้นจะไม่สามารถหาคำ ตอบได้สำหรับผู้ออกแบบระบบต้องประเมินว่า สถานการณ์ดังกล่าวมีโอกาสจะเกิดขึ้นหรือไม่ ถ้าไม่มี โอกาสเกิดขึ้นก็สามารถปล่อยผ่านได้ แต่ถ้ามีโอกาสที่ จะเกิดก็ควรวางคำตอบที่ชัดเจนไว้ เผื่อสถานการณ์ดัง กล่าวที่เกิดขึ้นจริง
2.วิธีเขียนตารางตัดสินใจ
การเขียนตารางตัดสินใจเป็นการจัดโครงสร้างทางตรรกะในกระบวนการทำงาน ทีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการสร้างตารางตัดสินใจ 2 ข้อมใหญ่ๆ ดังนี้
2.1 ขั้นตอนการเขียน
เพื่อให้เกิดความเข้าใจ จะใช้คำอธิบายกระบวนการแบบภาษาธรรมชาติ โดยเปลี่ยนเป็นการอธิบายกระบวนการด้วยตารางตัดสินใจในแต่ละขั้นตอน
2.1.1 เขียนรายการเงื่อนไขทั้งหมดในกระบวนการ
1.มูลค่าการสั่งซื้อน้อยกว่า 100 บาทหรือไม่
2.มีสิทธิพิเศษหรือไม่
3.ได้ส่วนลดน้อยกว่า 2 บาทหรือไม่
4.ราคาสินค้าหลังหักส่วนลดเกินกว่า 45 บาทหรือไม่
5.ชำระเงินภายใน 7 วันหรือไม่
เมื่อได้รายการเงื่อนไขแล้ว ให้นำไปเขียนไว้ในส่วนเงื่อนไข
2.1.2 คำนวนหาจำนวนกฎ
1. มูลค่าการสั่งซื้อน้อยกว่า 100 บาทหรือไม่ (มี 2 ตัวเลือก คือค่า ใช่ กับ ไม่ใช่)
2. มีสิทธิพิเศษหรือไม่
3.ได้ส่วนลดน้อยกว่า 2 บาทหรือไม่
4.ราคาสินค้าหลังหักส่วนลดเกินกว่า
5.ชำระเงินภายใน 7 วันหรือไม่
ทุกเงื่อนไขมีจำนวนตัวเลือกเพียง 2 ค่า ดังนั้นจำนวนกฎจึงเป็น 2 = 32
2.1.3 ตรวจสอบความครอบคลุมที่ครบถ้วน
ให้ตรวจสอบการแจกแจงค่าตัวเลือกของเงื่อนไขต่างๆ ในประเด็นเหล่านี้
1.จำนวนกฎที่ได้ต้องสอดคล้องกับการคำนวณที่ได้ในข้อ 2.1.2
2.แต่ละกฎจะต้องมีลักษณะตัวเลือกที่มีความเฉพาะ ไม่ซ้ำกัน
2.1.4 เขียนการกระทำและคำตอบของแต่ละกฎ
จากตัวอย่าง การกระทำที่มีในกระบวนการคำนวนเงินที่ชำระค่าสินค้า 5 รายการ ดังนี้
1.ลดราคาอย่างน้อย 2 บาท
2.ลดราคา 5%
3.ลดราคา 7.5%
4.ลดราคา 8%
5.เพิ่มส่วนลดพิเศษอีก 1%
2.1.5 สร้างกฎจากเงื่อนไขและค่าตัวเลือกของเงื่อนไข
มีสิทธิพิเศษ =>ใช่ (Y)
ส่วนลดน้อยกว่า 2 บาท =>ไม่ (Y)
ราคาขายหลังหักส่วนลดมากกว่า 45 บาท =>ใช่ (Y)
ชำระเงินภายใน 7 วัน =>ใช่ (Y)
ดังนั้น ถ้าสภาวะจริงขณะทำงานกับระบบเมื่อเหตุการณ์ที่เป็นไปได้ตามกฎนี้ คำตอบที่ได้คือ ส่วนลด 8.5 เพราะว่ามีเครื่องหมาย ในคอลัมน์ที่ 5 ทั้งหมด 2 จุด คือ 7.5 Discount และ +1 Discount นี่คือวิธีในการใช้ตารางการตัดสินใจในการหาคำตอบ
2.1.6 ลดกฎที่ไม่เป็นออก
มีสิทธิพิเศษ =>ใช่ (Y)
ส่วนลดน้อยกว่า 2 บาท =>ไม่ (Y)
ราคาขายหลังหักส่วนลดมากกว่า 45 บาท =>ใช่ (Y)
ชำระเงินภายใน 7 วัน =>ใช่ (Y)
ดังนั้น ถ้าสภาวะจริงขณะทำงานกับระบบเมื่อเหตุการณ์ที่เป็นไปได้ตามกฎนี้ คำตอบที่ได้คือ ส่วนลด 8.5 เพราะว่ามีเครื่องหมาย ในคอลัมน์ที่ 5 ทั้งหมด 2 จุด คือ 7.5 Discount และ +1 Discount นี่คือวิธีในการใช้ตารางการตัดสินใจในการหาคำตอบ
2.1.6 ลดกฎที่ไม่เป็นออก
ให้สร้างกฎจากเงื่อนไขและค่าเงื่อนไขทั้งหมดที่เป็นไปได้ โดยอาศัยเทคนิคการแจกแจงแบบวนตัวประกอบซ้ำ โดยเขียนการแจกแจงลงในส่วนการตั้งกฎ
ยกตัวอย่างการแจกแจงที่เห็นได้ชัดคือ การนำเลข 0 ถึง 9 มาเรียง 3 หลักจะได้เชตของตัวเลขเป็น {001,002,003,......., 999} ดังนั้น ถ้าต้องการแจกแจงค่าของเงื่อนไขที่มีค่า Y กับ N ทั้งหมด 3 เงื่อนไขแล้ว จะได้เซตการแจกแจง 3 หลักเป็น {YYY, YYN, YNY, YNN, NYY, NYN, NNY, NNN} ซึ่งจะได้จำนวนสมาชิกในเซตเท่ากับจำนวนกฎที่คำนวนได้จากข้อที่ผ่านมา
จากตารางเราจะเห็นว่ามีการตั้งกฎ 32 กฎ หรือเท่ากับ 2 ตามจำนวนเงื่อนไขที่มี 5 ข้อ และส่วนของด้านล่างคือคำตอบ เช่นในกฎข้อที่ 5 ซึ่งใช้ทางเลือกของแต่ละเงื่อนไข ดังนี้
มีการซื้อน้อยกว่า 100 บาท =>ใช่ (Y)
ให้ลดกฎที่ให้ผลลัพธ์ที่ไม่ต่างกันออก โดยยุบรวมให้เหลือกฎเดียวและใช้เครื่องหมาย - แทนในค่าของเงื่อนไขที่อยู่ในส่วนการตั้งกฎได้ เพื่อแสดงว่าเงื่อนไขนี้สามารถเป็นค่าใดก็ได้ ดังนั้นเราสามารถลดรูปตารางได้ โดยใช้เครื่องหมาย - แทน เพื่อ แสดงว่าเงื่อนไขนี้สามารถเป็นค่าใดก็ได้ ดังนี้
2.2 ข้อพิจารณาสำหรับการเลือกใช้ตารางตัดสินใจ
2.2.1 ข้อได้เปรียบ--เสียเปรียบ
2.2.2 ลักษณะการอธิบายที่เหมาะสม
เมื่อต้องการนำตารางตัดสินใจมาใช้งาน ให้พิจารณาความเหมาะสมดังนี้
1.ตารางตัดสินใจกระบวนการได้ละเอียดกว่า ใช้พื้นที่ภายในการเขียนน้อยกว่า
2.ต้องมีความระมัดระวังในการตรวจสอบ ความสอดคล้องของกฎเกณฑ์
3.ใช้เวลามากในการสร้าง เพราะต้องสร้างคำตอบให้ครบทุกกฎเกณฑ์
ลักษณะการอธิบายกระบวนการที่เหมาะสมสำหรับตารางตัดสินใจคือ
1.ในระบบการทำงานมีเงื่อนไขที่ใช้ในการตัดสินใจมาก และมีกฎเกณฑ์กำหนดการกระทำที่ซับซ้อน
2.ต้องการจัดโครงสร้างทางการตัดสินใจให้มีความชัดเจน ไม่เกิดความขัดแย้งหรือความฟุ่มเฟือยของกฎเกณฑ์ที่ใช้ในการเลือกการกระทำในระบบการทำงาน
สรุปท้ายบทที่ 10
สรุปท้ายบทที่ 10
เครื่องมือที่ช่วยในการอธิบายขบวนการภายในระบบอีกอย่างหนึ่งคือ ตารางตัดสินใจ โดยตารางจะทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์การตัดสินใจภายในเงื่อนไขต่างๆ ที่เกิดขึ้นในขบวนการนั้นๆ ตารางตัดสินใจนี้จะใช้คู่กับแผนผังกระแสข้อมูล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น